วันจันทร์ที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2553

ข้อดีและข้อเสียของ(Flowchart)

ข้อดีและประโยชน์ของผังงาน
1. ทำให้เข้าใจและแยกแยะปัญหาต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น
2. ผู้เขียนโปรแกรมมองเห็นลำดับการทำงาน รู้ว่าสิ่งใดควรทำก่อน สิ่งใดควรทำหลัง
3. สามารถหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้ง่าย
4. ทำให้ผู้อื่นเข้าใจการทำงานได้ง่ายกว่าการดูจาก source code
5. ไม่ขึ้นกับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง ผู้อื่นสามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย

จุดอ่อนและข้อด้อยของ Flowchart
1. การหาภาพที่เหมาะสมอาจหาได้ยาก
2. ความพร้อมของอุปกรณ์และความสามารถในการถ่ายภาพ
3. ไฟล์ภาพมีขนาดใหญ่ในการจัดเก็บในคอมพิวเตอร์

ตัวอย่างที่2


ตัวอย่างที่1

วันจันทร์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2553

แบบฝึกหัดท้ายบทที่1

แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 1
1. การหาแนวทางการแก้ไขปัญหา มีด้วยกันทั้งหมดกี่ขั้นตอน
ค. 5 ขั้นตอน
2. ขั้นตอนใดที่ต้องทำเป็นขั้นตอนแรกในการหาแนวทางแก้ไขปัญหา
ก. การทำความเข้าใจกับปัญหา
3. ขั้นตอนใดที่ต้องทำเป็นขั้นตอนสุดท้ายในการหาแนวทางในการแก้ปัญหา
ง. การทดสอบลำดับขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
4. ข้อใดไม่ใช่วิธีการในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อนำมาใช้ช่วยในการแก้ปัญหา
ข. อยู่หน้าเครื่องแล้วทดลองเขียนโปรแกรม
5. ขั้นตอนในการหาว่า “การแก้ไขปัญหาที่ต้องการจะแก้ไขนั้น ต้องการข้อมูลใดบ้าง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา และหลังจากเข้าใจปัญหาเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะส่งค่าใดกลับไป” คือข้อใด
ง. การทำความเข้าใจกับปัญหา
6. เมื่อพิจารณาในส่วนของข้อมูลที่จะส่งให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา และข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์ส่งกลับมาหลังจากการแก้ปัญหาเรียบร้อยแล้ว จะต้องทำขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนต่อไป
ข. การทดลองแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
7. ข้อใดกล่าวถึงคอมพิวเตอร์ไม่ถูกต้อง
ง. ถูกทุกข้อ
8. การหาวิธีการเข้าใจปัญหาที่ถูกต้องและเหมาะสม จะกระทำในขั้นตอนใด
ค. การพัฒนาลำดับขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
9. ขั้นตอนในการพิจารณาลำดับขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา จะนำขั้นตอนในการแก้ปัญหาขั้นตอนใดในการมาใช้พัฒนา
ข. การทดสอบลำดับขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
10. ในส่วนของขั้นตอนในการพัฒนาลำดับขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา ประกอบด้วยขั้นตอนย่อยกี่ขั้นตอน
ข. 3 ขั้นตอน
11. ในส่วนของขั้นตอนในการพัฒนาลำดับขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา จะต้องทำสิ่งใดเป็นลำดับแรก
ก. การอธิบายการทำงานอย่างหยาบ
12. ข้อใดกล่าวถึงคำสั่งเทียมได้อย่างถูกต้อง
ค. เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษคอมพิวเตอร์
13. คำสั่งเทียมถูกพัฒนาจากขั้นตอนใด
ง. การอธิบายลำดับขั้นตอนการทำงานอย่างละเอียด
14. ขั้นตอนการหาแนวทางในการแก้ปัญหานั้น เมื่อทำการทดลองแก้ปัญหาด้วยตนเองแล้วจะต้องทำขั้นตอนใดต่อไปนี้
ค. การทำความเข้าใจกับปัญหา
15. ถ้าต้องการหาจำนวนเงินทอนที่ต้องถอนให้กับลูกค้า จากสูตร
เงินทอน = เงินที่ลูกค้าจ่าย- ราคาสินค้า
จะเขียนเป็นการอธิบายลำดับขั้นตอนการทำงานได้เป็นข้อใด
ค. เงินทอน เงินที่ลูกค้าจ่าย – ราคาสินค้า
16. ถ้าต้องการกำหนดค่าให้ตัวแปร N = 10 สามารถเขียนเป็นคำสั่งเทียมได้ในข้อใด
ค. N 10
17. การหาแนวทางการแก้ปัญหาขั้นตอนใดที่ต้องทำเป็นขั้นตอนสุดท้าย
ก. การทดสอบลำดับขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
18. การทดสอบลำดับขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหานั้น จะใช้ในการทดสอบแนวทางแก้ปัญหาในขั้นตอนใด
ข. การพิจารณาลักษณะของข้อมูลเข้าและข้อมูลออก
19. ในการทดสอบลำดับขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา ควรจะทดสอบด้วยข้อมูลจำนวนกี่ชุดข้อมูล
ข. 2 ชุดข้อมูล
20. ข้อใดใช้ในการพัฒนาต่อให้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์
ก. คำสั่งเทียม


ตอนที่ 2 จงแสดงวิธีทำ
1. สมศักดิ์มีเงินเก็บสะสมอยู่จำนวนหนึ่ง ถ้านำไปฝากไว้กับธนาคาร โดยธนาคารคิดอัตราดอกเบี้ย 4.5% ต่อปี สมศักดิ์จพต้องฝากเงินกับธนาคารเป็นจำนวนกี่ปี ถึงจะมีเงินเก็บเป็น 2 เท่า ของจำนวนเงินที่มีอยู่ในปัจจุบัน
ข้อมูลเข้าของปัญหานี้ คือ จำนวนเงินที่เก็บสะสมข้อมูลที่เป็นตัวเลขจำนวนเต็มและเงินที่เก็บเป็น 2 เท่าของข้อมูลที่เป็นตัวเลขจำนวนเต็ม
ข้อมูลออกของปัญหานี้ คือ ธนาคารคิดอัตราดอกเบี้ยเป็น ข้อมูลที่เป็นตัวเลขจำนวนเต็มและเวลาที่ต้องฝากธนาคารเป็นข้อมูลตัวเลขจำนวนเต็ม

2. สมศักดิ์, สมศรี และสมชายทำงานที่บริษัทแห่งหนึ่ง ซึ่งทั้ง 3 คน ได้รับเงินเดือนไม่เท่ากัน ในกรณีที่ต้องการหาเงินเดือนเฉลี่ยของทั้ง 3 คน
ข้อมูลเข้าของปัญหานี้ คือ ต้องการเฉลี่ยเงินเดือนของ 3 คน ต้องรู้จำนวนเงินของเงินเดือนแต่ละคนเท่ากับเท่าไร
ข้อมูลออกของปัญหานี้ คือ ต้องนำเงินเดือนของแต่ละคนมารวมกันและนำมาเฉลี่ยให้เท่ากันและนำจำนวนเงินที่ได้อาจจะเป็นจำนวนเต็มหรือทศนิยม

3. สายสมรเป็นพนักงานของร้านค้าแห่งหนึ่ง มีหน้าที่ในการนำเงินที่ได้จากการขายสินค้าในแต่ละสัปดาห์ไปฝากธนาคาร จงหาแนวทางการแก้ปัญหาทั้ง 5 ขั้นตอน ในการหาผลรวมของจำนวนเงินที่สายสมรนำไปฝากธนาคารภายในหนึ่งเดือน ว่ามีจำนวนเงินเท่าใดเมือคิดที่ 1 เดือน มีทั้ง 4 สัปดาห์ และจำนวนเงินเฉลี่ยที่นำไปฝากแต่ละสัปดาห์
Problem Statement
คำนวณจำนวนเงินที่สายสมรนำฝากธนาคารภายใน 1 เดือน และจำนวนเงินเฉลี่ยที่นำไปฝากแต่ละสัปดาห์
Input Output Description
Input คือ คิด จำนวนเงินที่นำไปฝากเป็นตัวเลขจำนวนเต็มผลรวมของจำนวนเงินที่นำไปฝากเป็นตัวเลขจำนวนเต็ม

Output คือ ผลรวมของเงินที่ต้องนำไปฝากที่ธนาคารภายใน 1 เดือน เป็นตัวเลขจำนวนเต็ม

Hand Example
สัปดาห์ที่ 1 + สัปดาห์ที่ 2 + สัปดาห์ที่ 3 + สัปดาห์ที่ 4 = 1 เดือน
1 เดือน /4 = จำนวนเงินเฉลี่ยที่นำไปฝากต่อสัปดาห์

Algorithm Development
Decomposition
เริ่มต้น
รับเงินที่จะนำไปฝาก
คำนวนเงินที่ต้องนำไปฝากแต่ละอาทิตย์
คำนวนเงินที่จะนำไปฝากรวม 1 เดือน มาเฉลี่ยเป็นสัปดาห์
จบการทำงาน
Refinement
เริ่มต้น
รับเงินที่นำไปฝาก
คำนวนเงินที่ต้องนำไปฝากแต่ละสัปดาห์
1 สัปดาห์ = จำนวนเงิน
4. คำนวนจำนวนที่ต้องนำไปฝากรวม 1 เดือน
4 สัปดาห์ = จำนวนเงินต่อเดือน
จำนวนเงินต่อเดือน / 4 = เงินเฉลี่ยแต่ละสัปดาห์
5. จบการทำงาน
Testing
ทดสอบด้วยข้อมูลชุดที่ 1
เมื่อให้จำนวนเงินนำฝากสัปดาห์ที่ 1 คือ 57,300 บาท สัปดาห์ที่ 2 คือ 46,820 บาท สัปดาห์ที่ 3 คือ 68,910 บาท สัปดาห์ที่ 4 คือ 53,200 บาท
1. Begin
บอกการเริ่มต้นของขั้นตอนการทำงาน
2. Read Price
รับจำนวนเงินที่นำไปฝากในที่ที่กำหนดให้
สัปดาห์ที่ 1 = 57,300
สัปดาห์ที่ 2 = 46,820
สัปดาห์ที่ 3 = 68,910
สัปดาห์ที่ 4 = 53,200
Interrest
คำนวนรวมจำนวนเงินที่ จะต้องนำไปฝากใน 1 เดือน มี 4 สัปดาห์
57,300+46,820+68,910+53,200=226,230
4. แสดงจำนวนเงินที่ต้องนำไปฝากรวม 1 เดือนมาเฉลี่ย
226,230/4=56,557.5 บาท
5. Write
แสดงจำนวนเงินที่เฉลี่ยจาก 1 เดือน และ จำนวนเงินที่นำไปฝาก แต่ละ สัปดาห์
1 เดือน =226,230
1 สัปดาห์ =56,557.5
จบการทำงาน

ทดสอบด้วยข้อมูลชุดที่ 2
เมื่อให้จำนวนที่นำฝากสัปดาห์ที่ 1 คือ 32,300 บาท สัปดาห์ที่ 2 คือ 17,300 บาท สัปดาห์ที่ 3 คือ 28,900 บาท สัปดาห์ที่ 4 คือ 42,000 บาท
1. Begin
บอกการเริ่มต้นของขั้นตอนการทำงาน
2. Read Price
รับจำนวนเงินที่นำไปฝาก ในที่ที่กำหนดให้
สัปดาห์ 1 = 32,300
สัปดาห์ 2 = 17,300
สัปดาห์ 3 = 28,900
สัปดาห์ 4 = 42,000
3. Interrest
คำนวนจำนวนเงินที่ จะต้องนำไปฝากใน 1 เดือน มี 4 สัปดาห์
32,300+17,300+28,900+42,000=120,500
4. แสดงจำนวนเงินที่ต้องนำไปฝากรวม 1 เดือน มาเฉลี่ย
120,500/4 = 30,125 บาท
5. Write
แสดงจำนวนเงินที่เฉลี่ยจาก 1 เดือน และ จำนวนเงินที่นำไปฝาก แต่ละสัปดาห์
1 เดือน = 120,500 บาท
1 สัปดาห์ = 30,125 บาท
6. จบการำงาน


4. จงหาแนวทางการแก้ปัญหา 5 ขั้นตอน ของการคำนวนชั่วโมงในการทำงานของพนักงานฝึกหัดในบริษัทแห่งหนึ่ง ที่เปิดทำการเวลา 6.00-24.00 น. เพื่อใช้ในการคำนวนอัตราค่าจ้างในการทำงาน โดยจ่ายในชั่วโมงละ 30 บาท โดยนับเวลาที่มาทำงานและเวลาที่เลิกทำงานในแต่ละวันเข้ามา จากนั้นคำนวนหาชั่วโมงทำงาน และจำนวนเงินที่ต้องจ่ายให้พนักงานในแต่วันนั้น
Problem Statement

Input Output Description
Input คือ

Output คือ

Hand Example

Algorithm Development
Decomposition

Refinement

Pseudo Code

Testing
ทดสอบด้วยข้อมูลชุดที่ 1
เมื่อให้เวลาเรื่มต้นทำงาน คือ 09.35 น. เวลาเลิกทำงาน คือ 13.30 น.

ทดสอบด้วยข้อมูลชุดที่ 2
เมื่อให้เเวลาเริ่มต้นทำงาน คือ 13.00 น. เวลาเลิกงาน คือ 20.15 น.
my

วันจันทร์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม

วิชาหลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม รหัส 3204 - 2007
จุดประสงค์รายวิชา
1. เพื่อให้มีความรู้ความสามารถ วิเคราะห์ปัญหา และกำหนดขั้นตอนการแก้ปัญหา ด้วยคอมพิวเตอร์
2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนของการออกแบบโปรแกรม
3. เพื่อให้มีความสามารถในการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
4. เพื่อให้เห็นคุณค่าถึงความสำคัญของการออกแบบโปรแกรม
มาตรฐานรายวิชา
1. อธิบายขั้นตอนการออกแบบและการพัฒนาโปรแกรม
2. ปฏิบัติการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษา และปฏิบัติ เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ แก้ไขปัญหาการทำงาน การวิเคราะห์ปัญหา การกำหนดขั้นตอนการทำงาน (Algorithm) การเขียนผังงาน การสร้างเซตกับผังงาน การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code) หลักการออกแบบโปรแกรม และการพัฒนาโปรแกรม